5 สิ่งควรรู้ เมื่อมีผู้สูงอายุที่บ้านนอนติดเตียง

การดูแลผู้ป่วยติดเตียง การดูแลผู้ป่วยติดเตียง คือ การดูแลผู้ป่วยที่ไม่สามารถขยับร่างกายได้ตามที่ต้องการ และต้องนอนบนเตียงเป็นเวลานาน เนื่องจากสาเหตุหลายประการ โดยการดูแลจะเป็นการให้ความช่วยเหลือในกิจกรรมต่างๆ ของผู้ป่วย เช่น อาบน้ำ ป้อนอาหาร การป้องกันอันตรายจากสาเหตุต่างๆ รวมไปถึงการช่วยเหลือด้านอารมณ์ เพื่อให้ผู้ป่วยไม่เกิดความเครียด ความกังวล ส่งผลให้สุขภาพร่างกาย และสภาพจิตใจโดยรวมของผู้ป่วยเป็นไปในทิศทางที่ดี มีการฟื้นตัวที่ดีขึ้น ความสำคัญของการดูแลผู้ป่วยติดเตียง การดูแลผู้ป่วยติดเตียงเป็นหนึ่งในการรักษาสุขภาพของผู้ป่วย ช่วยในการฟื้นฟูผู้ป่วยติดเตียง และยังช่วยป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย เช่น แผลกดทับ กล้ามเนื้อลีบ การติดเชื้อทางเดินหายใจ รวมไปถึงป้องกันการเกิดภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด และการติดเชื้อร้ายแรง นอกจากนี้ช่วยให้ผู้ป่วยติดเตียงมีภาวะทางอารมณ์ที่ดี ทำให้ไม่มีภาวะซึมเศร้า หรือความวิตกกังวล ส่งผลให้ผู้ป่วยมีทัศนคติเชิงบวก และมีคุณภาพชีวิตโดยรวมที่ดีขึ้น 5 วิธีดูแลผู้ป่วยติดเตียง และผู้สูงอายุติดเตียงอย่างถูกต้อง 1.หมั่นพลิกตัวและเปลี่ยนท่าให้กับผู้ป่วย การพลิกตัว และเปลี่ยนท่าให้กับผู้ป่วย จะช่วยป้องกันการเกิดแผลกดทับ และเพิ่มประสิทธิภาพการหายใจ ผู้ป่วยจึงควรได้รับการเปลี่ยนท่านอนทุกๆ 2-3 ชั่วโมง แต่การพลิกตัว หรือเปลี่ยนท่าให้กับผู้ป่วย จะต้องทำด้วยความระมัดระวัง และใช้เทคนิคที่ถูกต้องเท่านั้น 2.ปรับให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งขณะทานอาหาร การปรับให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งขณะทานอาหาร สามารถทำได้ด้วยการปรับเตียง ประมาณ 45 องศา […]

7 ขั้นตอนการให้อาหารทางสายยาง

ผู้สูงวัยบางท่านที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ มีปัญหาเรื่องการนอนติดเตียงมักจะมีปัญหาขาดสารอาหารจน ร่างกายซูบผอมลง จนเกิดมีปุ่มกระดูกชัด รวมถึงอาจจะมีปัญหาด้านผิวหนังที่แห้ง หย่อนยาน ขาดความชุ่มชื้นและมีภาวะโรคร่วมอย่างอื่นที่มีความเสี่ยงทำให้เกิดแผลกดทับ หรือ แผลที่เกิดจากการเสียดสีได้ เช่น ภาวะเบาหวานที่เป็นภัยร้าย แผลอักเสบติดเชื้อง่าย ภาวะเส้นเลือดที่ปลายแขนขาที่ไม่ดี รวมถึงปัจจัยความชื้นของอากาศและวัสดุ ที่ไม่เหมาะสม พื้นผิวแข็งมีเสี่ยงต่อการเสียดสีมาก ก็จะเป็นปัญหาได้เช่นกัน วันนี้เรามี 5 วิธีป้องกันการเกิดแผลกดทับมาฝากกันครับ 1. ล้างมือ ก่อนและหลังให้อาหารทางสายยาง ทุกครั้ง การเปลี่ยนและการจัดท่าของผู้ป่วย โดยยึดเอาตามความสามารถในการขยับ และการเคลื่อนไหวของผู้ป่วยเป็นหลัก หากผู้ป่วยนอนติดเตียงไม่สามารถเคลื่อนไหวได้เลยควรเปลี่ยนท่านอนใหม่ทุก ๆ 2 ชั่วโมง อาจจะเป็นถ้านอนหงายแล้วนอนตะแคงโดยอาจใช้หมอนข้างนิ่ม ๆ มากั้น รวมถึงใช้หมอนนิ่ม ๆ ใบเล็กแทรกอยู่ตามระหว่างปุ่มกระดูกที่อาจกดทับกันจนเป็นแผลได้ หากผู้ป่วยที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้แต่สามารถนั่งบนรถเข็นควรจะเปลี่ยนท่านั่งใหม่ทุก ๆ 1 ชั่วโมง ระหว่างอาบน้ำเช็ดตัวเปลี่ยนผ้าอ้อม ควรหมั่นสังเกตสีผิวที่เปลี่ยนแปลง หากเริ่มแดง คล้ำ ควรหมั่นพลิกตัวเปลี่ยนท่าทางบ่อยๆ 2. ตรวจสอบตําแหน่งสายให้อาหาร ว่าอยู่ในตําแหน่งที่ถูกต้องทุกครั้งก่อนการให้อาหาร ในกรณีที่ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับมาก ไม่ว่าจะเป็นการช่วยเหลือตัวเองได้น้อย มีภาวะโรคประจำตัว ขาดสารอาหาร รวมถึงมีปุ่มกระดูกขนาดใหญ่ที่ตำแหน่งกดทับ สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ที่ช่วยลดแรงกดทับเสริมได้ […]

5 วิธีรับมือ แผลกดทับ กับผู้ป่วยติดเตียง

ผู้สูงวัยบางท่านที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ มีปัญหาเรื่องการนอนติดเตียงมักจะมีปัญหาขาดสารอาหารจน ร่างกายซูบผอมลง จนเกิดมีปุ่มกระดูกชัด รวมถึงอาจจะมีปัญหาด้านผิวหนังที่แห้ง หย่อนยาน ขาดความชุ่มชื้นและมีภาวะโรคร่วมอย่างอื่นที่มีความเสี่ยงทำให้เกิดแผลกดทับ หรือ แผลที่เกิดจากการเสียดสีได้ เช่น ภาวะเบาหวานที่เป็นภัยร้าย แผลอักเสบติดเชื้อง่าย ภาวะเส้นเลือดที่ปลายแขนขาที่ไม่ดี รวมถึงปัจจัยความชื้นของอากาศและวัสดุ ที่ไม่เหมาะสม พื้นผิวแข็งมีเสี่ยงต่อการเสียดสีมาก ก็จะเป็นปัญหาได้เช่นกัน วันนี้เรามี 5 วิธีป้องกันการเกิดแผลกดทับมาฝากกันครับ 1. การเปลี่ยนและการจัดท่าของผู้ป่วย การเปลี่ยนและการจัดท่าของผู้ป่วย โดยยึดเอาตามความสามารถในการขยับ และการเคลื่อนไหวของผู้ป่วยเป็นหลัก หากผู้ป่วยนอนติดเตียงไม่สามารถเคลื่อนไหวได้เลยควรเปลี่ยนท่านอนใหม่ทุก ๆ 2 ชั่วโมง อาจจะเป็นถ้านอนหงายแล้วนอนตะแคงโดยอาจใช้หมอนข้างนิ่ม ๆ มากั้น รวมถึงใช้หมอนนิ่ม ๆ ใบเล็กแทรกอยู่ตามระหว่างปุ่มกระดูกที่อาจกดทับกันจนเป็นแผลได้ หากผู้ป่วยที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้แต่สามารถนั่งบนรถเข็นควรจะเปลี่ยนท่านั่งใหม่ทุก ๆ 1 ชั่วโมง ระหว่างอาบน้ำเช็ดตัวเปลี่ยนผ้าอ้อม ควรหมั่นสังเกตสีผิวที่เปลี่ยนแปลง หากเริ่มแดง คล้ำ ควรหมั่นพลิกตัวเปลี่ยนท่าทางบ่อยๆ 2. ในกรณีที่ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับมาก ในกรณีที่ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับมาก ไม่ว่าจะเป็นการช่วยเหลือตัวเองได้น้อย มีภาวะโรคประจำตัว ขาดสารอาหาร รวมถึงมีปุ่มกระดูกขนาดใหญ่ที่ตำแหน่งกดทับ สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ที่ช่วยลดแรงกดทับเสริมได้ เช่น หมอนนุ่มๆ ที่จะช่วยลดแรงกดทับได้ […]